สยาม ระโส
Person Image | |||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ-สกุล | สยาม ระโส | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตำแหน่งทางวิชาการ | ผู้ช่วยศาสตราจารย์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
สังกัด | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี | ||||||||||||||||||||||||||||||||
เบอร์โทร | 0898445332 | ||||||||||||||||||||||||||||||||
Line ID | rasosayam | ||||||||||||||||||||||||||||||||
sayam.ra@srru.ac.th | |||||||||||||||||||||||||||||||||
การศึกษา |
*Thesis Title: Oxygen: Effects of oxygen concentration on the growth of Nannochloropsis sp. **Thesis Title: Effects of dietary lipid on growth and carcass composition of juvenile barramundi (Lates calcarifer) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ความเชี่ยวชาญ | การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ (Aquaculture) สาหร่ายขนาดเล็ก (Microalgae) วิศวกรรมกระบวนชีวภาพ (Bioprocess Engineering) การออกแบบถังเพาะเลี้ยงสาหร่ายปฏิกรณ์ชีวภาพแบบใช้แสง (photobioreactor Design) และเทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย (Algal Biotechnology) | ||||||||||||||||||||||||||||||||
การทำงาน/ประสบการณ์ | อดีตรองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ อดีตรองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝ่ายบริการการศึกษา อดีตรองผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัมนา ฝ่ายบริการวิชาการ อดีตประธานหลักสูตร วท.บ. ชีววิทยา กรรมการหลักสูตรวท.บ.ชีววิทยา จนถึงปัจจุบัน | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ผลงานวิจัย | Worasitikulya Taratima, Pradub Reanprayoon, Sayam Raso, Mallika Chantarangsee, and Pitakpong Maneerattanarungroj. (2020). Physiological and anatomical changes in Thai rice landrace (Oryza sativa L.) cv Pakaumpuel after colchicine treatment. Pakistan Journal of Botany. 52(5): DOI: http://dx.doi.org/10.30848/PJB2020-5(24)
Worasitikulya Taratima, Attachai Trunjaruen, Sayam Raso, Pitakpong Maneerattanarungroj. (2020). Effects of cultivation media on invitro callus induction and regeneration capabilities of Pakaumpuel rice (Oryza sativa L.), Thai rice landlace. Walailak Journal of Science and Technology (WJST), 17(1): 37-46.
Worasitikulya Tarattima, Thapakorn Ritmaha, Nuntawoot Jongrungklang, Sayam Raso and Pitakpong Maneerattanaungroj. (2019). Leaf Anatomical responses to drought stress in hybrid sugarcasn leaf (Saccharum officinarum ‘Kk3’). Malaysian Applied Biology Journal (MABJ). 48(3): 181-188.
สยาม ระโส, อัจรีย์ มาลีหวล, สุมณฑา จีระมะกร. (2562). ภูมิปัญญาวัฒนธรรมอาหารชายแดนไทยกัมพูชา ในจังหวัดสุรินทร์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2562 (3rd National and International Research Conference 2019: NIRC III 2019 “ความท้าทายของอุดมศึกษาในการผลิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาในศตวรรษที่ 21 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สยาม ระโส, นิภาศักดิ์ คงาม และ เฉลา สำราญดี (2561). ความหลากชนิดของปลาและสัตวน้ำที่พบในบริเวณคูเมืองชั้นนอกด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้จังหวัดเมืองสุรินทร์ในเชิงนิเวศวิทยาวัฒนธรรม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิขาการ (Proceedings) ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๑ การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๑ (The 1st National and International Conference on Humanities and Social Sciences : 1st HUNIC Conference 2018) ภายใต้หัวข้อ “มนุษย์-สังคม : นวัตกรรมการพัฒนาท้องถิ่นสู่สากล ตามศาสตร์พระราชา” ในวันที่ 14- 15 กันยายน ๒๕๖๑ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
วนิดา ยาวุธ, ปวริศา เงาะเศษ, สยาม ระโส และ นิภาศักดิ์ คงงาม (2561). การศึกษาชีพลักษณ์ของสาหร่ายสไปโรไจราเพื่อการพัฒนาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิขาการ (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9 “เชื่อมโยงเครือข่ายวิชาการ ด้วยงานวิจัย””ระหว่างวันที่ 29-31 สิงหาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
กฤติยา แก่นไทย, พลับพลึง ห่อทอง, คุณภัทร ศรศิลป์ และ สยาม ระโส (2561). ความหลากชนิดและการใช้ประโยชน์ของพืชผักสมุนไพร ณ บ้านประปืด ตำบลเมืองที อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิขาการ (Proceedings) การประชุมวิชาการระดับชาติราชมงคลสุรินทร์ ครั้งที่ 9 “เชื่อมโยงเครือข่ายวิชาการ ด้วยงานวิจัย””ระหว่างวันที่ 29-31 สิงหาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
สยาม ระโส. (2561). แนวคิดการพัฒนางานวิจัยการเพาะเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กในบริบทนวัตกรรมบนโลกที่ก่อกวน. ตีพิมพ์ในหนังสือประจำปีสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย พ.ศ. 2561 ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี พ.ศ. 2561 วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561 ณ โรงแรม เดอะสุโกศล กรุงเทพฯ. 88-02 หน้า.
ปฐมพร มณีวรรณ, สุพัตรา บุญหนัก, คุณภัทร ปรุงเกียรติ และ สยาม ระโส (2560). ความหลากชนิดของสาหร่ายยึดเกาะพืชน้ำ ดิวิชั่นคลอโรไฟต้า ในแหล่งน้ำ ณ กองพันทหารราบที่ 3 กรมทหารราบที่ 23 ค่ายวีรวัฒน์โยธิน. วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น. 39(1): 83-97.
ธนศักดิ์ สอนพรม, ธีรศักดิ์ เพิ่มพร, สยาม ระโส & คุณภัทร ปรุงเกียรติ (2560). ความหลากชนิดของสาหร่ายน้ำจืดในอ่างเก็บน้ำ ห้วยแก้ว อำเภอรัตนบุรี จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น. 39(2): 59-74.
อัญญารัตน์ สุขเต็ม, สุวรรณรัตน์ นิยม, สยาม ระโส และ คุณภัทร ศรศิลป์. (2560). ความหลากชนิดของโปรโตซัวคลาสในแมสทิโกเฟอราและคลาสซาร์โคดินาในอ่างเก็บน้ำห้วยเสนง จังหวัดสุรินทร์, การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3” Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
สุวกานต์ ไทยประโคน ณัฐธิดา แจ่มแจ้ง ประภัสรา ศิริขันธ์แสง และ สยาม ระโส. (2560). การตรวจหาโคลิฟอร์มแบคทีเรียในส้มตำ จากร้านส้มตำบริเวณหลังมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์.การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3” Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
รุ่งจรี กำลังรัมย์, กิตติศักดิ์ ปานมิ่ง, สยาม ระโส และ ประภัสรา ศิริขันธ์แสง. (2560). คุณสมบัติและฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของไวน์ ลูกหว้า ไวน์ลูกหว้าผสมน้ำสับปะรดและไวน์ลูกหว้าผสมน้ำมะเฟือง. การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3” Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
เจษตรา ลำพองชาติ, วิจิตรา บุญปัญญา, สยาม ระโส และประภัสรา ศิริขันธ์แสง. (2560). สบู่ล้างมือผสมด้วยสารสกัดสมุนไพรเพื่อยับยั้งแบคทีเรีย Escherichia coli TISTR117. การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3” Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
เจนจิรา มาสังข์, ธีระวัฒน์ ปานทอง, คุณภัทร ศรศิลป์, สยาม ระโส และ ประภัสสรา ศิริขันธ์แสง. (2560). ความหลากชนิดของแพลงก์ตอนพืชในอ่างเก็บน้ำหนองสิ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ. การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3” Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
สยาม ระโส. (2560). ประโยชน์ของการเลี้ยงสาหร่ายขนาดเล็กกับการพัฒนาประเทศในยุคไทยแลนด์ 4.0 ตีพิมพ์ในหนังสือประจำปีสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย พ.ศ. 2560 ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี พ.ศ. 2560 วันอาทิตย์ที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ โรงแรม เดอะสุโกศล กรุงเทพฯ
กมลชนก นามเขตต์, สุวรรณา ศรีจุดานุ, คุณภัทร ศรศิลป์ และ สยาม ระโส. (2559). การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้สกุลเสือโคร่งในสภาพปลอดเชื้อ ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ ๓ ณ อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วันที่ ๑-๒ กันยายน ๒๕๕๙
สยาม ระโส และ จุฑามาส อยู่มาก (2017). การศึกษาสาหร่ายขนาดเล็กในจังหวัดสุรินทร์เพื่อพัฒนานำมาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำและพลังงานทางเลือกไบโอดีเซล. การประชุมวิชาการระดับชาติ นวัตกรรมและเทคโนโลยีวิชาการ “วิจัยจากองค์ความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” ITC2017, จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์ และเครือข่าย, ระหว่างวันที่ 25-26 ธันวาคม 2560. 654-661 หน้า.
Sayam Raso & Kunapat Sonsrin (2016). Species diversity of freshwater algae in Surin province, URU International Conference on Science and Technology 2016, 1-2 August, 2016), Uttaradit Rajabhat University.
กมลชนก นามเขตต์, สุวรรณา ศรีจุดานุ, คุณภัทร ศรศิลป์ และ สยาม ระโส. (2559). การศึกษาสูตรอาหารที่เหมาะสมสำหรับการเจริญเติบโตของโปรโตคอร์มกล้วยไม้สกุลเสือโคร่งในสภาพปลอดเชื้อ ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนครั้งที่ ๓ ณ อาคารศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี วันที่ ๑-๒ กันยายน ๒๕๕๙
สยาม ระโส และ โยธิน สุริยพงศ์. (2558). การวิจัยและพัฒนาการประกอบอาชีพตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางพระราชดำริที่เกี่ยวข้องบริเวณแนวชายแดน จังหวัดสุรินทร์. วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น. 37(1): 83-93.
Sayam Raso. (2014). Effects of oxygen concentration below saturation on the growth of Nannochloropsis sp. International conference on“ASEAN in The Next decade” The 9th Surin International Folklore Festival on 19th of January, 2014. Surindra Rajabhat University.
สยาม ระโส, นริศรา ระโส และ ฝนสุดา มณีรัตน์. (2557). การใช้โปรแกรมระบบห้องสมุดอัตโนมัติ Liberty ของนักศึกษาและคณาจารย์เพื่อการสืบค้นภายในหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยราชภัฏุสุรินทร์. การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 “นวัตกรรม: เครื่องมือสำคัญของห้องสมุดยุค Social Network” ระหว่างวันที่ 22-24 มกราคม พ.ศ. 2557 จัดโดยข่ายงานห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาค (PULINET) มหาวิทยาลัยนเรศวร จ. พิษณุโลก
สยาม ระโส. (2557). การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยี การออกแบบการเรียนรู้ เครื่องมือสำคัญสำหรับนักการศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 ตีพิมพ์ในหนังสือประจำปีสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย พ.ศ. 2557 ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี พ.ศ. 2557
สยาม ระโส. (2556). ผลของปริมาณออกซิเจนและปริมาณความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายขนาดเล็ก. การประชุมวิชาการโครงการ “วิทยาศาสตร์ราชภัฏวิชาการครั้งที่ 5” ปีการศึกษา 2556 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
สยาม ระโส. (2556). ผลของปริมาณออกซิเจนต่อการเจริญเติบโตและกระบวนการปกป้องเซลล์ของสาหร่ายขนาดเล็ก Nannochloropsis sp. ตีพิมพ์ในหนังสือประจำปีสมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย พ.ศ. 2553-2554 ในการประชุมใหญ่สามัญประจำปี พ.ศ. 2556 วันอาทิตย์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 ณ โรงแรม สยามซิตี้ ถนนศรีอยุธยา กรุงเทพฯ. 59-63 หน้า.
สยาม ระโส. (2556). ผลของปริมาณออกซิเจนและปริมาณความเข้มแสงต่อการเจริญเติบโตของสาหร่ายขนาดเล็ก. การประชุมวิชาการโครงการ “วิทยาศาสตร์ราชภัฏวิชาการครั้งที่ 5” ปีการศึกษา 2556 วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
Raso S, van Genugten B, Vermue M and Wijffels RH. (2012) Effect of oxygen concentration on growth of Nannochloropsis sp. at low light intensity, J Appl Phycol 24: 863-871.
Raso, S. (2012). A simple and Economical Algal Production of 13C Stable isotope for research in blue mussel (Mytilus edulis). Koch Cha Sarn Journal of Science. 35(1): 36-47.
สยาม ระโส. (2555). ผลของปริมาณออกซิเจนต่อการเจริญเติบโตและกระบวนการปกป้องเซลล์ของสาหร่ายขนาดเล็ก. บริษัท เซ็นจูรี่ จำกัด. สมาคมนักเรียนทุนรัฐบาลไทย. 59-63 หน้า
Raso, S. (2011). Effects of feeding labeled 13C Phaeodactylum tricornutum on metabolites of juvenile blue mussels วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น. หน้า ๔๙-๕๘
Raso, S. and Anderson, A. T., 2003. Effects of dietary fish oil replacement on growth and carcass proximate composition of juvenile barramundi (Lates calcarifer), Aquaculture Research, 34: 813-819.
S. Raso, 2003. Effects of different dietary lipids at high lipid level (30 %) on growth, fatty acid composition in muscle and flesh quality in juvenile barramundi (Lates calcarifer), In: 29thCongress on Science and Technology of Thailand; 20-22 October 2003, Convention Hall, Khon Kean University, Thailand, 14 p.
Raso, S., 2003. Effects of dietary lipids at high levels on growth in juvenile barramundi, In: Thai Journal of Agricultural Science, Bangkok, Thailand. | ||||||||||||||||||||||||||||||||
บทความ/วารสาร |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
ตำรา/หนังสือ/ผลงานทางวิชาการอื่นๆ | เอกสารประกอบการสอนรายวิชา หลักชีววิทยา เอกสารประกอบการสอนรายวิชา เทคโนโลยีชีวภาพสาหร่าย | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ทุนวิจัย |
| ||||||||||||||||||||||||||||||||
รางวัล/ผลงานวิจัยดีเด่น | 1.ได้รับการเชิดชูเกียรติบุคลประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ มีคุณสมบัติเป็นต้นแบบผู้สนับสนุนความเป็นเลิศด้านการศึกษา ให้ไว้ ณ วันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๖2.ได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผู้ส่งเสริมสนับสนุนการแต่งกายด้วยผ้าไหมพื้นถิ่นสุรินทร์ตามโครงการรณรงค์ส่งเสริมการแต่งกายผ้าไหมพื้นถิ่นสุรินทร์ เนื่องในวันเฉลิมพระเกียรติ ๑๒ สิงหา ๘๑ พรรษามหาราชินี ประจำปี ๒๕๕๖ โดยสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ | ||||||||||||||||||||||||||||||||
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย | มีประสบการณ์ด้านการวิจัยทั้งในส่วนที่เป็นหัวหน้าโครงการวิจัย เป็นผู้ร่วมวิจัยในโครงการต่างๆ |