นิภาศักดิ์ คงงาม

นิภาศักดิ์ คงงาม

Person Image
ชื่อ-สกุลนิภาศักดิ์ คงงาม
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เบอร์โทร0980161992
Line IDnipasak2
E-mailnipasak.k@srru.ac.th
การศึกษา

ปริญญาตรี วท.บ.สัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตบางพระ

ปริญญาโท วท.ม.ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปริญญาเอก ปร.ด.ยุธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค(กลุ่มเกษตรและสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

ความเชี่ยวชาญสัตววิทยา ปรสิตวิทยา ชีววิทยา ปู ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค บูรณาการงานวิจัยสู่ชุมชน
การทำงาน/ประสบการณ์

อาจารย์ สาขาวิชาชีววิทยา

1. ประสบการณ์สอนประสบการณ์สอนด้านชีววิทยา 18 ปี

2. ประสบการณ์การฝึกอบรม

2.1 กระบวนการสอน Teaching Method and Evaluation in Higher Education Institution ณ มหาวิทยาลัยเกียวโตการศึกษา เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น 19 มิ.ย.-18 ก.ค. 2551

                    2.2 Training program in the specialty of Natural Product Separation and Purification, South China of Technology, Chemical and Energy Engineering School, China. 5-16 June 2006.

2.3  อบรมและผ่านการอบรมหลักสูตร “ผู้ขอรับใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 19 จัดโดยสถาบันพัฒนาการดำเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สพสว.) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) วันที่ 5-6 กรกฎาคม พ.ศ.2559 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2.4 ประชุมอบรมเพื่อปรับแนวทางการพัฒนาสู่ยุค “นวัตกรรม” ในโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฎิบัติการ : ปรับเปลี่ยนมหาวิทยาลัยสู่ไทยแลนด์  4.0.” ณ ห้องช้างเผือก ชั้น 3 อาคาร 41 คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ วันที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2560

3.ประสบการณ์การการบริการวิชาการแก่ชุมชน โดยเฉพาะโรงเรียนที่มาขอใช้บริการจัดค่ายวิทยาศาสตร์ทุกปีของศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

4. ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรนำเสนอผลงานในห้องประชุมเรื่อง ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนา ชุมชนอาณาบริเวณเขาพนมดงรัก แนวชายแดนไทย-กัมพูชา ในงาน Thailand Research Expo 2017 (21-22 สิงหาคม พ.ศ.2560) และ Thailand Research Expo 2018 (21-22 สิงหาคม พ.ศ.2560) จัดที่ Central World Bangkok

5. ได้รับเชิญเป็นวิทยากรทีมอบรม ให้กับเกษตรกร เรื่อง โครงการเลี้ยงปูนา ในบ่อซีเมนต์ ในโครงการพัฒนาทุ่งกุลาร้องไห้ ฝ่ายถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเกษตรและชุมชน (ATT) สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) ให้กับชุมชนเกษตรกรชาวบ้านรวมทั้งสิ้น จำนวนมากกว่า 130 คน (โดยการอบรม 3 ครั้ง )  ที่ อำเภอเกษตรวิสัย อำเภอจตุรพักรพิมาน จังหวัดร้อยเอ็ด และอำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างปี 2560-2561 และร่วมออกติดตามการเลี้ยงปูนาของชุมชนหลังจากการอบรม

6. ได้รับเชิญจัดแสดงนิทรรศการ “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2561 (Thailand Research Expo 2018”  ในหัวข้อเรื่องใหญ่ คือ “พัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์จังหวัดสุรินทร์สู่นวัตกรรมไทยแลนด์ 4.0”หัวข้อย่อยเรื่อง ปูนา:

ผลงานวิจัย

1. การศึกษาค่าการแพร่ระบาดของตัวอ่อนพยาธิใบไม้ ระยะ Metacercaria ในปูนา Esanthelphusa sp. และความสามารถในการติดต่อของพยาธิในสัตว์ท้องถิ่น พ.ศ.2541-2549

2. นิเวศวิทยาวัฒนธรรมปูนาอาณาบริเวณพนมดงรักไทย-กัมพูชา 2557

3.  ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของสารสกัดพืชบางชนิด และฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคของหอมแดง  ในอำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก วช. ปี 2560)   

4. ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนาของชุมชนในพื้นที่บริเวณแนวเทือกเขาพนมดงรัก (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2559)   

5. ความหลากชนิดของปูและภาวะปรสิตในปู ในอาณาบริเวณเทือกเขาพนมดงรักแนวชายแดนไทย – กัมพูชา (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2558)

บทความ/วารสาร
  1. Nipasak Kong-ngarm. (2014). Cultural perceptions of edible fresh water rice field crab in Surin province, Thailand. Surindrajounal of local development. 2014. 7: 25-39. ทุนปริญญาเอกมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
  2. Nipasak Kong-ngarm. (2014). Lawear Kadam (Traditional Food of the Thai-Khmer Ethic Group) ละแวกะดาม (วัฒนธรรมอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมร). The 1st Surin International Science & Technology Exhibition(SISTE) 2014. Poster presentation.
  3. Nipasak Kong-ngarm. (2014). Culture Perceptions of Edible Fresh Water Rice Field Crabs in Surin Province, Thailand. Surindra Journal of Local Development. Volume 7, November 1, 2014.
  4. นิภาศักดิ์ คงงาม ประภัสรา ศิริขันธ์แสง ธวัชชัย ชิณวงศ์ เกษม จันทร์ และสมพงษ์ ธงไชย. (2557) คุณค่าทางอาหาร “ละแวกะดาม” ในกลุ่มชาติพันธุ์ไทย-เขมร (Nutrition Value of food (LawearKadam) From Thai-Khmer Ethic Group). วารสารคชสาส์น. วารสารคชสาส์น ฉบับเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม 2557 (งานตีพิมพ์)
  5. Kongngarm, N. Pinthong, K., Sirikhansaeng, P and Chinnapap, P. (2016). Diversity of Species and abundance of Birds in KuMuang (moat), Surin Province, Thailand. International Conference on Science and Technology, 1st-2nd August 2016. Uttaradit Rajabhat University, Uttaradit, Thailand. (Proceeding)
  6. ลดาวัลย์ บุญวงศ์ ปริศนา คำดี ประภัสรา ศิริขันธ์แสง และ นิภาศักดิ์ คงงาม. การคัดเลือกแบคทีเรียทนเค็มที่สามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสในปูนาดอง. สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2017) *corresponding author e-mail kongngarm@gmail.com ยอมรับเข้านำเสนอผลงาน และได้รับเกียรติบัตรระดับดี
  7.  การศึกษาวิธีกระบวนการหมักน้ำปลาปรุงรสจากปูนา (น้ำปลาปูนา) (Fermented process study of additive fish sauce made from Rice-field crab). จิราภา จุลพันธ์ มุกรินทร์ ดุจพรรณ  ประภัสรา  ศิริขันธ์แสง นิภาศักดิ์ คงงาม* สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2017) *corresponding author e-mail kongngarm@gmail.com ยอมรับเข้านำเสนอผลงาน
  8. Sitthisak Jantarat, Weerayuth Supiwong, Krit Phintong, Khunapat Sonsrin, Nipasak Kong-ngarm and Alongklod Tanomtong. (2017). First Analysis on the Cytogenetics of Painted Sweetip, Plectorhinchus pictus (Heamulidae: Perciformes) from Thailand. The Japan Mendel Society, Cytologia 82(2): 145-150.
ตำรา/หนังสือ/ผลงานทางวิชาการอื่นๆ

1.  เอกสารประกอบการสอน วิชา สัตววิทยา

2.  การแพร่ระบาดและความสามารถในการติดต่อของตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะเมตาเซอคาเรียในปูนาต่อโฮสต์จำเพาะในท้องถิ่น และลักษณะทางสัณฐานวิทยาของพยาธิใบไม้และปูนาสุรินทร์

3.  เอกสารประกอบการสอน เรื่อง คู่มือดูนก ของวิชา สัตววิทยา

4.  เอกสารประกอบการสอน วิชา หลักชีววิทยา

5.  เอกสาร หนังสือ ชนิดพันธุ์ปู อีสานใต้ (ใกล้จะเสร็จสมบูรณ์)

ทุนวิจัย

1.  ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของสารสกัดพืชบางชนิด และฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคของหอมแดง  ในอำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก วช. ปี 2560)   

2. ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนาของชุมชนในพื้นที่บริเวณแนวเทือกเขาพนมดงรัก (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2559)   

3. ความหลากชนิดของปูและภาวะปรสิตในปู ในอาณาบริเวณเทือกเขาพนมดงรักแนวชายแดนไทย – กัมพูชา (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2558)

4. โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีการเลี้ยงปูนาในระดับชุมชน (หัวหน้าโครงการ ทันสนับสนุนจาก สวทช.2562-2563)

รางวัล/ผลงานวิจัยดีเด่น

1. รับรางวัล “ชนะเลิศ” ผลงานวิจัยสาขาวิทยาศาสตร์ ในงานราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3 วันที่ 13-14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2544 ณ สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก จากงานวิจัยเรื่อง “ค่าการแพร่ระบาดของพยาธิในปูนา และความสามารถในการติดต่อของตัวอ่อนพยาธิใบไม้ระยะติดต่อ (เมตาเซอคาเรีย) จากปูนาจังหวัดสุรินทร์ ในสัตว์ทดลองท้องถิ่น”

2. รับรางวัล “ช้างทองคำ” จากท่านผู้หญิงสุมาลี จาติกวนิช ในวันสถาปนาสถาบันราชภัฏสุรินทร์ ครบรอบ  25 ปี ในฐานะผู้มี ความดีเด่นในฐานะนักวิจัยท้องถิ่น วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545

3. รับโล่เกียรติคุณ “ผู้เป็นศิษย์เก่าดีเด่น(ด้านนักวิจัยดีเด่นท้องถิ่น)” จากสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสิรินธร ที่สร้างชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน ทำประโยชน์ส่วนรวม และประเทศชาติ มอบโดยนายกสมาคมศิษย์เก่าโรงเรียนสิริธร อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2555

4. ได้รับรางวัล“ผลงานวิจัยดีมาก แบบโปสเตอร์กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ”  ประเภทการนำเสนอแบบโปสเตอร์  จากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยสำนักบริหารโครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ ในงานแสดงผลงานในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (HERP CONGRESS V) ระหว่างวันที่ 2-4 มีนาคม 2560

5. ได้รับรางวัล “ดี” การนำเสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและด้านงานสร้างสรรค์/นวัตกรรม เรื่อง“การคัดเลือกแบคทีเรียทนเค็มที่สามารถผลิตเอนไซม์ไลเปสในปูนาดอง” ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ.2560 “Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 23-24 มีนาคม 2560

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

1. การศึกษาค่าการแพร่ระบาดของตัวอ่อนพยาธิใบไม้ ระยะ Metacercaria ในปูนา Esanthelphusa sp. และความสามารถในการติดต่อของพยาธิในสัตว์ท้องถิ่น พ.ศ.2541-2549

2. นิเวศวิทยาวัฒนธรรมปูนาอาณาบริเวณพนมดงรักไทย-กัมพูชา 2557

3.  ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของสารสกัดพืชบางชนิด และฤทธิ์การยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคของหอมแดง  ในอำเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก วช. ปี 2560)   

4. ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนาของชุมชนในพื้นที่บริเวณแนวเทือกเขาพนมดงรัก (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2559)   

5. ความหลากชนิดของปูและภาวะปรสิตในปู ในอาณาบริเวณเทือกเขาพนมดงรักแนวชายแดนไทย – กัมพูชา (หัวหน้าโครงการ ทุนวิจัยจาก สกอ. ปี 2558)

 

และบูรณาการสู่ชุมชน โดยการส่งเสริมอาชีพการเลี้ยงปูนาให้กับชุมชนบริเวณเขตทุ่งกุลาร้องไห้ ของจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดร้อยเอ็ด และส่งเสริมแนวทางการแปรรูปอาหารจากปูนาเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับชุมชน