ยุพเยาว์ โตคีรี
Person Image | |
---|---|
ชื่อ-สกุล | ยุพเยาว์ โตคีรี |
ตำแหน่งทางวิชาการ | อาจารย์ |
สังกัด | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
เบอร์โทร | 0849295916 |
Line ID | youngyao.tkr |
yuppayao.to@srru.ac.th | |
การศึกษา | ปริญญาตรี วท.บ. (วนศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาโท วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปริญญาเอก ปร.ด. (สิ่งแวดล้อมศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|
ความเชี่ยวชาญ | ป่าไม้ ดิน ขยะชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
การทำงาน/ประสบการณ์ | 1. โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (2541-2544) 2. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2544-ปัจจุบัน)
|
ผลงานวิจัย | 1. การศึกษาการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากกระบวนการผลิตผ้าไหมทอมือ: กรณีศึกษา กลุ่มทอผ้าไหมบ้านคาบเหนือ ตำบลเทนมีย์ อำเภอเมืองจังหวัดสุรินทร์แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (ผู้ร่วมวิจัย) 2. โครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ปี พ.ศ. 2547 แหล่งทุนสำนักงาน กปร. (ผู้ร่วมวิจัย) 3. การศึกษาประสิทธิภาพของการบำบัดน้ำเสียบีโอดีสูงด้วยดินร่วนระบบท่วมขังสลับแห้งร่วมกับกกกลม ปี พ.ศ. 2544 (วิทยานิพนธ์ปริญญาโท) 4. การศึกษาปริมาณโลหะหนักในปลาน้ำจืด 3 ชนิด ที่เลี้ยงในบ่อบำบัดน้ำเสียโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2542 แหล่งทุนโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (ผู้ร่วมวิจัย) 5. การศึกษาการเลี้ยงปลาน้ำจืด 3 ชนิดในบ่อบำบัดน้ำเสียโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2542-2543 แหล่งทุนโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (ผู้ร่วมวิจัย) 6. ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียด้วยป่าชายเลนโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดำริจังหวัดเพชรบุรี ปี พ.ศ. 2542-2543 แหล่งทุนโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ (ผู้ร่วมวิจัย) 7. การจัดการระบบนิเวศในฟาร์มเกษตรอินทรีย์ ปี พ.ศ. 2551 แหล่งทุนมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ผู้ร่วมวิจัย) 8. การควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยชีววิธีแบบผสมผสานในแปลงเกษตรอินทรีย์ ปี พ.ศ. 2551 แหล่งทุนมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ผู้ร่วมวิจัย) 9. โครงการ ครุวิจัย-สิ่งแวดล้อมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี พ.ศ. 2550 2551 และ 2552 แหล่งทุน สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (นักวิจัยพี่เลี้ยงและคณะผู้ดำเนินโครงการ) 10. ชนิดพืชในท้องถิ่นที่เหมาะสมในการพัฒนาเป็นเทคโนโลยีหลังคาเขียว (Green Roof) เพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ. 2554 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (หัวหน้าโครงการวิจัย) 11. การพัฒนาทักษะการแปรรูปยางแผ่นดิบที่เหมาะสมกับท้องถิ่นของเกษตรกรเจ้าของสวนยาง จังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2555 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยความเห็นชอบของ วช. (หัวหน้าโครงการวิจัย) 12. แนวทางการพัฒนาสิ่งแวดล้อมตลาดการค้าชายแดนช่องจอม จังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2555 แหล่งทุน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (ผู้ร่วมวิจัย) 13. ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในป่าเทือกเขาพนมดงรัก จังหวัดสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2556 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยความเห็นชอบของ วช. (หัวหน้าโครงการวิจัย) 14. แนวทางการจัดการสวนยางพาราที่เหมาะสมกับท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ เพื่อสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ปี พ.ศ. 2556 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (ผู้ร่วมวิจัย) 15. การจัดการขยะชุมชนแบบแบบมีส่วนร่วมในมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปี พ.ศ. 2558 แหล่งทุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยความเห็นชอบของ วช. (ผู้ร่วมวิจัย) 16. การจัดการขยะชุมชนแบบมีส่วนร่วมที่เหมาะสมกับภูมิสังคมของชาวบ้านทัพกระบือ จังหวัดสุรินทร์ แหล่งทุนมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปี 2559 โดยความเห็นชอบของ วช. (หัวหน้าโครงการ) 17. ความหลากชนิดของพืชกินได้ในป่าชุมชนกับความมั่นคงทางด้านอาหาร : กรณีศึกษาชุมชนต้นน้ำและกลางน้ำ ลุ่มน้ำห้วยเสนง จังหวัดสุรินทร์ ปี 2560 โดยความเห็นชอบของ วช. (หัวหน้าโครงการ) 18. การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพการกักเก็บคาร์บอนของไม้ยืนต้น และการพึ่งพิงผลผลิตที่มิใช่เนื้อไม้ ในระบบนิเวศป่าชุมชน จังหวัดสุรินทร์ ปี 2561 โดยความเห็นชอบของ วช. (หัวหน้าโครงการ) 19. การอนุรักษ์และประเมินค่าทางเศรษฐกิจป่าชุมชนเขาหินปูน จังหวัดกาญจนบุรีเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ปี 2560-2562 แหล่งทุนศุนยฺความเป็นทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ (ผู้ร่วมวิจัย) |
บทความ/วารสาร | 1. Jaitrong, W., Tokeeree, Y., & Pitaktunsakul, P. 2019. A new species of the ant genus Recurvidris Bolton, 1992 (Hymenoptera, Formicidae, Myrmicinae) from Thailand. ZooKeys. 830: 53–61. 2. น้องนุช สารภี ปิยรัตน์ มีแก้ว ยุพเยาว์ โตคีรี และชัยพันธุ์ สารภี. 2561. ความหลากชนิดของพืชหัวกินได้ในท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์. PSRU Journal of Science and Technology, 4(2), 43-53. 3. ยุพเยาว์ โตคีรี, น้องนุช สารภี และดวงตา โนวาเชค. 2561. การจัดการขยะมูลฝอยชุมชนแบบมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านทัพกระบือ จังหวัดสุรินทร์. ใน การประชุมวิชาการ “มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 14” 50 ปี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ‘ผู้มีปัญญา พึงเป็นอยู่เพื่อมหาชน. 550-557. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 4. ยุพเยาว์ โตคีรี, ชวนพิศ จารัตน์, น้องนุช สารภี, อำนวย วัฒนกรสิริ และวิบูลย์ คำสัมฤทธิ์. ความหลากหลายทางชีวภาพของพืชในป่าตามแนวเทือกเขาพนมดงรัก : ป่าชุมชนเขากบ จังหวัดสุรินทร์. 2559. วิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 1 (1) : 1-9. 5. ชวนพิศ จารัตน์, ยุพเยาว์ โตคีรี, ดวงตา โนวาเชค และนันทิญา มณีโชติ. 2559. การสร้างองค์ความรู้ในการจัดการลำห้วยเสนงโดยชุมชน มีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน.วิทยาศาสตร์ คชสาส์น. 38(1) : 60-73. 6. น้องนุช สารภี, ยุพเยาว์ โตคีรี, ปิยรัตน์ โคตรศรี และชัยพันธุ์ สารภี. 2558. เทคนิคการทำยางก้อนถ้วยเพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตยางพาราจังหวัดสุรินทร์. วิทยาศาสตร์ คชสาส์น. 37(2) :94-105. 7. ชวนพิศ จารัตน์, ยุพเยาว์ โตคีรี,ประดับ เรียนประยูร และวรรธนะชัย ปฐมสิริวงศ์. 2556.สถานการณ์ขยะมูลฝอยของตลาดการค้าชายแดนช่องจอม จังหวัดสุรินทร์. ชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. 7(1) :72-82. 8. ยุพเยาว์ โตคีรี, น้องนุช สารภี, สราวุธ ตันติวัฒน์, ชัยพันธุ์ สารภี และชวนพิศ จารัตน์. 2555. การพัฒนาทักษะการแปรรูปยางแผ่นดิบเกษตรกรในท้องถิ่น จังหวัดสุรินทร์. วิทยาศาสตร์ คชสาส์น.35(2) : 59-68. |
ตำรา/หนังสือ/ผลงานทางวิชาการอื่นๆ | - |
ทุนวิจัย | -มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ โดยผ่านความเห็นชอบของ วช. -ศูนยืความเป็นเลิศทางด้านความหลากหลายทางชีวภาพ |
รางวัล/ผลงานวิจัยดีเด่น | นักวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย | ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับป่าไม้ ขยะชุมชน |