สุขใจ สมพงษ์พันธุ์
Person Image | |
---|---|
ชื่อ-สกุล | สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ |
ตำแหน่งทางวิชาการ | อาจารย์ |
สังกัด | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
เบอร์โทร | 091-8326565 |
Line ID | sukjaipim789 |
sukchai.so@srru.ac.th | |
การศึกษา | ปริญญาตรี…การศึกษาบัณฑิต(กศ.บ.)…วิทยาศาสตร์-เคมี...พ.ศ.2529…จาก…มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ…บางแสน….. ปริญญาโท…ครุศาสตรมหาบัณฑิต(ค.ม.)…การศึกษาวิทยาศาสตร์...พ.ศ.2535…จาก…จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย… ปริญญาเอก…ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(ป.รด.)…สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค(การสื่อสารวิทยาศาสตร์)พ.ศ.2562…จาก…มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์… |
ความเชี่ยวชาญ | การศึกษาวิทยาศาสตร์ เคมีสิ่งแวดล้อม เคมีศึกษา เคมีในชีวิตประจำวัน การสื่อสารวิทยาศาสตร์ ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค |
การทำงาน/ประสบการณ์ | ประวัติการทำงาน อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนชุมชนบ้านท่ากระดาน จังหวัดกาญจนบุรี สำนักงานการประถมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2530-2531 อายุงาน 1 ปี อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนบัวหลวงวิทยาคม จังหวัดบุรีรัมย์ ระดับมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา พ.ศ.2531-2537 อายุงาน 6 ปี อาจารย์ 1 ระดับ 4 วิทยาลัยครูสุรินทร์ กรมการฝึกหัดครู พ.ศ.2537-2539 อายุงาน 2 ปี อาจารย์ 2 ระดับ 5 สถาบันราชภัฏสุรินทร์ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2539-2540 อายุงาน 2 ปี อาจารย์ 2 ระดับ 6 สถาบันราชภัฏสุรินทร์ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2540-2544 อายุงาน 4 ปี อาจารย์ 2 ระดับ 7 สถาบันราชภัฏสุรินทร์ สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ พ.ศ.2544-2547 อายุงาน 3 ปี อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2547-2562 อายุงาน 15 ปี อาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ กระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ.2562-ปัจจุบัน
ประสบการณ์การทำงาน หน้าที่การงานภายในมหาวิทยาลัย อาจารย์ปฎิบัติการสอน ภาควิชาหรือโปรแกรมหรือสาขาวิชาเคมี ภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พ.ศ.2537-2563 (ปัจจุบัน) อายุงาน 27 ปี อาจารย์ที่ปรึกษาชมรมวิทยาศาสตร์รักษ์สิ่งแวดล้อม พ.ศ.2540-2563 (ปัจจุบัน) อายุงาน 24 ปี เลขานุการภาควิชาเคมี พ.ศ.2540-2543 อายุงาน 4 ปี เลขานุการโปรแกรมวิชาเคมี พ.ศ.2543-2549 อายุงาน 6 ปี เลขานุการสาขาวิชาเคมี พ.ศ.2549-2553 อายุงาน 4 ปี (รวมอายุงาน เลขานุการ เคมี 14 ปี) ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) พ.ศ.2553-2560 อายุงาน 7 ปี ประธานหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) ควบหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (เคมี) พ.ศ.2554-2560 อายุงาน 6 ปี (รับนักศึกษาได้ 5 รุ่น รหัส 54-58) รองผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ฝ่ายวิจัยและนิเวศวัฒนธรรม พ.ศ.2554-2556 อายุงาน 3 ปี เลขานุการศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ พ.ศ.2541-2558 อายุงาน 18 ปี รองผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ ฝ่ายบริหารงานทั่วไป พ.ศ.2558-2560 อายุงาน 3 ปี ผู้แทนคณาจารย์ในคณะกรรมการประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ.2557-2560 อายุงาน 4 ปี หัวหน้างานวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ พ.ศ.2561-2562 อายุงาน 2 ปี
หน้าที่การงานภายนอกมหาวิทยาลัย คณะทำงานอาจารย์ที่ปรึกษาในสภาเครือข่ายเยาวชนสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2559-2563 (ปัจจุบัน) อายุงาน 5 ปี คณะทำงานในสุรินทร์สร้างสุข พ.ศ.2557-2560 อายุงาน 4 ปี คณะกรรมการในสมัชชาสุขภาพจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ.2555-2563 (ปัจจุบัน) อายุงาน 9 ปี คณะทำงานในสภาพลเมืองสุรินทร์ พ.ศ.2559-2563 (ปัจจุบัน) อายุงาน 5 ปี คณะอนุกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตสุรินทร์ในคณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชนเขตพื้นที่ 9 พ.ศ.2560-2563(ปัจจุบัน) อายุงาน 4 ปี รองประธานในคณะกรรมการสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย สาขาสุรินทร์พ.ศ.2541-2542 อายุงาน 2 ปี |
ผลงานวิจัย | 2543 : การศึกษาแผนผังหาชื่อสัตว์น้ำจืดเพื่อตัดสินคุณภาพน้ำ (ผู้วิจัย) 2543 : การวิเคราะห์คุณภาพน้ำในจังหวัดสุรินทร์ (ผู้วิจัยหลัก) 2544 : การสร้างบทปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำในการสอนปฏิบัติการวิทยาศาสตร์สาขาสิ่งแวดล้อมระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดสุรินทร์ 2547 : การสร้างบทเรียนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่อง ช้างสุรินทร์ (ผู้วิจัยหลัก) 2548 : การประยุกต์องค์ความรู้วิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เพื่อการพัฒนาแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับช้างจังหวัดสุรินทร์ (ผู้ร่วมวิจัย) 2548 : การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ : กรณีศึกษา ช้างสุรินทร์ ระบบนิเวศ สะระแหน่ และส่าเหล้า (ผู้ร่วมวิจัย) 2548: ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำลำน้ำมูลจังหวัดสุรินทร์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) 2549 : การสร้างเครือข่ายเพื่อติดตามประเมินผลโครงการพัฒนาบทเรียนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์ (ผู้ร่วมวิจัย) 2550: ปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยการศึกษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นข้าวหลามบ้านท่าศิลา ตำบลเมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ 2550 : สาระภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และนิเวศวิทยาชาติพันธุ์ หมู่บ้านช้าง จังหวัดสุรินทร์ (ผู้ร่วมวิจัย) 2552: การสร้างเครือข่ายนักสื่อสารเพื่อชุมชน บนมิติความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์แม่น้ำมูล (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) 2553: การศึกษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ชุ่มน้ำแม่น้ำมูลจังหวัดสุรินทร์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) 2555: ภูมิปัญญาสายใยไหมหม่อนเพื่อพัฒนาภูมิรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามแนวชายแดนไทยกัมพูชา (ผู้ร่วมวิจัย) 2558 : การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับสมุนไพรช้างในจังหวัดสุรินทร์ สู่นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืน (ผู้ร่วมวิจัย) 2558 : ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชาเคมีสภาวะแวดล้อม (ผู้วิจัย) 2558 : เต้าหู้เย็นสูตรธรรมชาติเพิ่มสารต่อต้านอนุมูลอิสระ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) 2558 : โครงการสาธิตความริเริ่มการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในลุ่มน้ำห้วยเสนง (ผู้ร่วมวิจัย) 2562 : การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการพลังงานทางเลือกจังหวัดสุรินทร์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) |
บทความ/วารสาร | สุขใจ สมพงษ์พันธุ์.(2546). “การศึกษาแผนผังหาชื่อสัตว์น้ำจืดเพื่อตัดสินคุณภาพน้ำ.”ในเอกสารการประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ในโรงเรียน (วทร.13 ) เมื่อ 9-11 มกราคม 2546. มหาสารคาม : สถาบันราชภัฏมหาสารคาม.
สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ และคณะ. (2549). “การเรียนรู้ลำน้ำมูลและเครือข่ายการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ชุ่มน้ำลำน้ำมูลจังหวัดสุรินทร์.” ในเอกสารการ ประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยกับการวิจัยเพื่อท้องถิ่นครั้งที่ 2 เมื่อ 12-13 กรกฎาคม 2549. นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์. สิงหาคม2550 -มกราคม2551 “เฉลิมพระเกียรติพ่อแห่งแผ่นดินพระบิดาแห่งเศรษฐกิจพอเพียง”. วารสารวิทยาศาสตร์ คชสาส์น”. คณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. 30 (1) : 1-10. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ . (2554). “คลายปมวิกฤตน้ำ ด้วยกระบวนทัศน์วิถีพุทธ.” ลุ่มแม่น้ำมูล วารสารศิลปะและวัฒนธรรม. 6 : 60-69. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ . (2555). “นิเวศวัฒนธรรมในวิถีชีวิตชาวกูยเลี้ยงช้างจังหวัดสุรินทร์.” ลุ่มแม่น้ำมูล วารสารศิลปะและวัฒนธรรม. 7 : 65-75. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ . (2556). “ภูมิปัญญาหม่อนไหม “คราม” ความงามในเส้นใยไหมหม่อน.” ลุ่มแม่น้ำมูล วารสารศิลปะและวัฒนธรรม. 8 : 82-92. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์ . (2556). “การบูรณาการองค์ความรู้ท้องถิ่นกับองค์ความรู้วิชาการสมัยใหม่ในการบริหารจัดการน้ำของชุมชนบ้านโนนขวาง อำเภอบ้านด่าน จังหวัด บุรีรัมย์ .” เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติ งานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 5 ภายใต้แนวคิด “การวิจัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนกับการก้าวสู่ ประชาคมอาเซียน” ในระหว่างวันที่ 18 – 19 กรกฎาคม 2556 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม . สุขใจ สมพงษ์พันธุ์. (กันยายน-ตุลาคม 2561). “การบูรณาการการเรียนการสอนในรายวิชาเคมีสภาวะแวดล้อมเพื่อพัฒนานักศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้”. วารสาร มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. ฉบับพิเศษเนื่องในการประชุมวิชาการมนุษย์และสังคมระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 1. (20): 269-282.
|
ตำรา/หนังสือ/ผลงานทางวิชาการอื่นๆ | สุขใจ สมพงษ์พันธุ์. (2548). เส้นทางวิจัยเพื่อการสร้างบทเรียนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น เรื่องช้างสุรินทร์. เอกสารเผยแพร่เครือข่ายงานวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏ สำนักงานคณะ กรรมการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. เชียงใหม่ : โทนคัลเลอร์. สุขใจ สมพงษ์พันธุ์. (25ุ62). กลไกการขับเคลื่อนงานพลังงานทางเลือกจังหวัดสุรินทร์. เอกสารเผยแพร่ในโครงการพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการพลังงานทางเลือกจังหวัด สุรินทร์. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. สุรินทร์ : ศูนย์ประสานงานการวิจัยเพื่อท้องถิ่นจังหวัดสุรินทร์. |
ทุนวิจัย |
2558 : การบูรณาการภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับสมุนไพรช้างในจังหวัดสุรินทร์ สู่นวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อความยั่งยืน (ผู้ร่วมวิจัย) งบประมาณ จาก สกอ. จำนวนเงิน 270,000 บาท 2562 : การพัฒนากลไกการขับเคลื่อนการจัดการพลังงานทางเลือกจังหวัดสุรินทร์ (หัวหน้าคณะผู้วิจัย) งบประมาณจาก สกสว. จำนวนเงิน 451,080 บาท |
รางวัล/ผลงานวิจัยดีเด่น | 2542 เป็นอาจารย์นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมดีเด่น สถาบันราชภัฏสุรินทร์ 2545 ได้รับรางวัลคุรุสภา ประเภทครูผู้สอน ระดับอุดมศึกษา โดยได้รับการคัดเลือกให้เป็นตัวแทนคณาจารย์ของสำนักงานสถาบันราชภัฏทั่วประเทศ ว่าเป็นผู้ปฏิบัติงานมีผลงานดี สร้างคุณประโยชน์ในด้านการศึกษาให้แก่ประเทศชาติ ได้รับรางวัลชมเชยครูผู้สอนที่ปฏิบัติงานดีเด่นระดับอุดมศึกษาของคุรุสภาประจำปี 2545 ในงานวันครู ณ หอประชุมคุรุ สภา กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 16 มกราคม 2546 2545 ได้รับรางวัลช้างทองคำและเกียรติบัตรด้านการวิจัยวิทยาศาสตร์ดีเด่น ร่วมกับคณะผู้วิจัย เรื่อง การ วิเคราะห์คุณภาพน้ำในจังหวัดสุรินทร์ จากสถาบันราชภัฏสุรินทร์ เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2545 2547 ได้รับรางวัลงานวิจัยดีเด่น ผลงานวิจัยเรื่อง การสร้างบทเรียนวิทยาศาสตร์ท้องถิ่นช้างสุรินทร์ ในการ ประชุมปฏิบัติการ “บทเรียนท้องถิ่น:ด้วยกระบวนการวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ณ มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2547 2551 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ประเภท Professional Vote โดยการนำเสนอผลงานวิจัยร่วมกับ นักศึกษา เรื่อง ปฏิรูปการเรียนรู้ด้วยการศึกษาและพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นข้าวหลามบ้านท่าศิลา ตำบล เมืองแก อำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ในนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ “ตามรอยเบื้องพระยุคลบาท” (IRPUS51) จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2551 2552 ได้รับเกียรติบัตร รางวัลนักวิจัยระดับดีมาก จากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. |
ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย | เป็นอาจารย์ผู้สอนรายวิชาโครงการวิจัยทางเคมีในหลักสูตรปริญญาตรี สาขาวิชาเคมี ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน เป็นผู้ริเริ่มก่อตั้งห้องปฏิบัติการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ ในศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ประสบการณ์ในงานวิจัย ที่สำคัญ เช่น เป็นวิทยากรในกระบวนการจัดเวทีระดมความคิด มีผลงานวิจัยเป็นนวัตกรรมทางเคมีอาหาร เคมีสิ่งทอ หลักสูตรวิทยาศาสตร์ท้องถิ่น |