เฉลา สำราญดี

เฉลา สำราญดี

Person Image
ชื่อ-สกุลเฉลา สำราญดี
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
สังกัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เบอร์โทร0918326798
Line IDchalaosumrandee
E-mailcsumrandee@gmail.com
การศึกษา

คุณวุฒิ

ปี พ.ศ. ที่จบ

ชื่อสถานศึกษาและประเทศ

๑.  ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (ชีววิทยา)  หลักสูตรนานาชาติ 

๒๕๕๗

มหาวิทยาลัยมหิดล  ประเทศไทย

หัวข้อเรื่องดุษฏีนิพนธ์  เรื่อง Molecular detection of bacteria and protozoa in snake and mammal ticks from Thailand

ทุนการศึกษา  ทุนโครงการเครือข่ายเชิงกลยุทธ์เพื่อการผลิตและพัฒนาอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา

๒. วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีววิทยาสภาวะแวดล้อม) หลักสูตรนานาชาติ

๒๕๔๕

มหาวิทยาลัยมหิดล ประเทศไทย

หัวข้อเรื่องวิทยานิพนธ์ เรื่อง Metaphase karyotypes of ten new species within the Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) complex in Thailand

๓. วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา) 

๒๕๓๙

มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย

ความเชี่ยวชาญ1.พันธุศาสตร์และชีววิทยาเชิงโมเลกุล นิเวศวิทยาและอนุกรมวิธานของแมลงวันผลไม้ ยุงพาหะนำเชื้อมาลาเรียและเชื้อไข้เลือดออก และเห็บ 2. ความหลากหลายทางชีวภาพของแมลง 3. ปุ๋ยหมักและการใช้ประโยชน์
การทำงาน/ประสบการณ์

๑. พุทธศักราช ๒๕๓๙-๒๕๔๑ : ผู้ช่วยวิจัยโครงการ “ การศึกษาชีววิทยาเชิงประชากรของแมลงวันผลไม้และ ยุงก้นปล่อง” สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์  ใบไม้ เป็นหัวหน้าโครงการ

๒. พุทธศักราช ๒๕๔๒-๒๕๔๕: ผู้ช่วยวิจัยโครงการ “พันธุศาสตร์เชิงประชากร (๑) แมลงที่มีความสำคัญทาง เศรษฐกิจที่สัมพันธ์กับ Wolbachia และ (๒) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก” สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ เป็นหัวหน้าโครงการ

๓. พุทธศักราช ๒๕๔๕-๒๕๕๐: นักวิจัยโครงการ (๑) Monitoring of inหมู่icide resistant and mapping of malaria vectors in Southeast Asia : a prerequisite for sustainable malaria vector control สนับสนุนเงินทุนวิจัยโดยสหภาพยุโรป (European Union) และ (๒) โครงการ Molecular ecology of malaria parasites (Plasmodium fulciparum and P. vivax) populations and their vector specificity in Thailand สนับสนุนเงินทุนวิจัยโดยโครงการ BRTและสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (๓)โครงการ Modifying mosquito population age structure to eliminate dengue transmission สนับสนุนเงินทุนโดย Melinda and Bill Gates Foundation สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ เป็นหัวหน้าหน่วยฯ

๔.ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง อาจารย์พนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์

๕.ประธานหลักสูตร วท.บ. ชีววิทยา ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงปัจจุบัน

๖. ผู้แทนคณาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ จนถึงปัจจุบัน

ผลงานวิจัย
  1. เฉลา สำราญดี กฤษณ์ ปิ่นทอง และ อรุณี อหันทริก. (๒๕๕๙). ความหลากชนิดของเห็บในสัตว์ต่างๆของจังหวัดสุรินทร์และจังหวัดใกล้เคียง (Species diversity of ticks from animals in Surin province and adjacent provinces). วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 หน้า 26-37.

  2. นิภาศักดิ์ คงงาม ประภัสรา ศิริขันธ์แสง และ เฉลาสำราญดี. (๒๕๖๑). ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนา ของชุมชนในพื้นที่บริเวณแนวเทือกเขาพนมดงรัก วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. Vol 20. Special Issue (September-October). 229-241. (TCI 1)

  3. Chalao Sumrandee, Visut Baimai, Wachareeporn Trinachartvanit and Arunee Ahantarig, Molecular detection of Rickettsia, Anaplasma, Coxiella and Francisella bacteria in ticks collected from Artiodactyla in Thailand. Ticks and Tick Borne Diseases. 2016. 7: 678–689.

  4. Watchara Arthan, Chalao Sumrandee, Supanee Hirunkanokpunc, Sangvorn Kitthawee, Visut Baimaia, Wachareeporn Trinachartvanit, Arunee Ahantarig. Detection of Coxiella-like endosymbiont in Haemaphysalis tick in Thailand. Ticks and Tick Borne Diseases. 2015 Feb;6(1):63-68.

  5.  Sumrandee C, Hirunkanokpun S, Doornbos K, Kitthawee S, Baimai V, Grubhoffer L, Trinachartvanit W, Ahantarig A. Molecular detection of Rickettsia species in Amblyomma ticks collected from snakes in Thailand. Ticks and Tick Borne Diseases. 2014 Oct;5(6):632-40.

  6. Doornbos K, Sumrandee C, Ruang-Areerate T, Baimai V, Trinachartvanit W, Ahantarig A. Rickettsia sp. closely related to Rickettsia raoultii (Rickettsiales: Rickettsiaceae) in an Amblyomma helvolum (Acarina: Ixodidae) tick from a Varanus salvator (Squamata: Varanidae) in Thailand. Journal Medical Entomology. 2013 Jan;50(1):217-20.

  7.  Ahantarig A, Malaisri P, Hirunkanokpun S, Sumrandee C, Trinachartvanit W, Baimai V. Detection of Rickettsia and a novel Haemaphysalis shimoga symbiont bacterium in ticks in Thailand. Current Microbiology. 2011 May;62(5):1496-502.

  8. Zarowiecki M, Walton C, Torres E, McAlister E, Htun, P T, Sumrandee C, Sochanta T, Dinh, TH, Ng L C, and Linton Y-M. Pleistocene genetic connectivity in a widespread, open-habitat-adapted mosquito in the Indo-Oriental region. Journal of Biogeography. 2011;38: 1422–1432.

  9.  Sumrandee C, Milne JR. and Baimai V. Ovipositor morphology and host relations within the Bactrocera tau complex (Diptera: Tephritidae) in Thailand. Songklanakarin Journal of Science and Technology. 2011;33: 247-254.

  10. Tanomtong A, Supanuam P, Khunsook S and Sumrandee C. Karyological study of the white-cheeked gibbon, Nomascus leucogenys (Primates, Hylobatidae) by G-banding and high-resolution techniques Cytologia. 2009:74:23-29.

  11.  Van Bortel W, Trung HD, Thuan LK, Sochantha T, Socheat D, Sumrandee C, Baimai V, Keokenchanh K, Phompida S, Roelants P, Denis L, Verhaeghen K, Coosemans M. The insecticide resistance status of malaria vectors in the Mekong Region after three years of intense monitoring. Malaria journal, 2008;7:102.

  12. Baimai V, Phinchongsakuldit J, Sumrandee C and Tigvattananont S. Cytological evidence for a complex of species within the taxon Bactrocera tau (Diptera: Tephritidae). Biological Journal of Linnean Society. 2000b;69:399-409.

  13. Chalao Sumrandee and Arunee Ahantarig. A First record of Rickettsia and Francisella in tortoise ticks (Amblyomma geoemydae) from Thailand. (in preparation)

  14. นิภาศักดิ์ คงงาม ประภัสรา ศิริขันธ์แสง และ เฉลา สำราญดี. (๒๕๖๐). ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนา ของชุมชนในพื้นที่บริเวณเทือกเขาพนมดงรัก นำเสนอในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา (The 5th Higher Education Research Promotion Congress; HERP Congress V) ครั้งที่ ๕ วันที่ ๒-๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้รับรางวัล “ผลงานวิจัยดีมากแบบโปสเตอร์ กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ”

  15. สรารัตน์ บัวลอย ณัฐสิววรรณ มีพรหมดี และ เฉลา สำราญดี. 2560. การย้อมเส้นไหมจากมูลหนอนผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของงานวิจัยของนักศึกษาที่นำเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 8 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

  16. สุวนันท์ บุราณรมย์ ปนัดดา ทองสลับ ภัธราภรณ์ เหลาไชย และ เฉลา สำราญดี. 2560.  สัณฐานวิทยาและวงจรชีวิตของผีเสื้อหนอนใบบัวในพิ้นที่คูเมือง อำเภอเมืองจังหวัดสุรินทร์ เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของงานวิจัยของนักศึกษาที่นำเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 8 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

  17. เพ็ญนภา วาพัดไทย สุรสิทธ์ แพงแก้ว สยาม เกตุศิริ และ เฉลา สำราญดี. 2560.  การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของผักคะน้าโดยใช้ปุ๋ยต่างชนิดกัน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาหลักของงานวิจัยของนักศึกษาที่นำเสนอโปสเตอร์ในการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 8 วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

  18. จุฑามาส กลางประพันธ์ เฉลาสำราญดี กิตติธร กลางประพันธ์ น้องนุช สารภี กชนิภา อุดมทวี และปิยรัตน์ มีแก้ว. 2559. ความหลากชนิดของสาหร่ายน้ำจืด แพลงตอนสัตว์กลุ่มโรติเฟอร์และแคลดโดเซอราในแหล่งน้ำจืดของจังหวัดสุรินทร์ ครั้งที่ 8 วันที่ 22-23 ธันวาคม พ.ศ. 2559 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคอิสาน วิทยาเขตสุรินทร์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่ง

  19. นิภาศักดิ์ คงงาม ไพบูลย์ นัยเนตร และ เฉลา สำราญดี. (2558). ความหลากชนิดของปูและภาวะปรสิตของปู ในอาณาบริเวณเขาพนมดงรักแนวชายแดนไทย-กัมพูชา สิ่งพิมพ์ออนไลน์ หนังสือพิมพ์เมืองช้าง สุรินทร์ ช่วงเวลา สิงหาคม ตุลาคม 2558.

  20. สยาม ระโส นิภาศักดิ์ คงงาม และ เฉลา สำราญดี. (2561). ความหลากชนิดของปลาและสัตว์น้ำที่พบในบริเวณคูเมืองชั้นนอกทางด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัดสุรินทร์ในเชิงนิเวศวิทยาวัฒนธรรม. The 1st National and International Conference on Humanities and Social Sciences “Human-Societies: Innovate Locally, Impact Globally through the King’s Philosophy” 14th-16th September 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Surindra Rajabhat University, Surin Province, Thailand. (Oral presentation, Proceeding).

  21. Nipasak Kongngarm, Prapussara Sirikhansaeng and Chalao Sumrandee. The study of the various uses of rice-field crab (Esanthelphusa sp.) inthe community around the Phnom Dongrak Mountain range. (2018). The 1st National and International Conference on Humanities and Social Sciences “Human-Societies: Innovate Locally, Impact Globally through the King’s Philosophy” 14th-16th September 2018, Faculty of Humanities and Social Sciences, Surindra Rajabhat University, Surin Province, Thailand. (Oral presentation, Proceeding)

  22.  เฉลา สำราญดี นันทิญา  มณีโชติ นิภาศักดิ์  คงงาม กฤษณ์  ปิ่นทอง สยาม  ระโส ประภัสรา  ศิริขันธ์แสง และพนม  ชินภาพ. (2562). การสำรวจและความชุกชุมของเห็บปลา (Argulus spp.) ในปลาบางชนิดและกุ้งฝอยจากอ่างเก็บน้ำห้วยลำพอก ตำบลกุดหวาย อำเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์. เสวนาโครงการราชภัฏวิชาการเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สุ่ชุมชนอย่างยั่งยืน The 10th Undergraduate Conference on Science and Technology ระหว่างวันที่ 26-27 มีนาคม 2562 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.

  23. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ “ เรื่องนิเวศวิทยาเชิงโมเลกุลในประชากรของเชื้อมาลาเรีย (Plasmodium fulciparunm และ P. vivax) ] และความจำเพาะของพาหะเชื้อในประเทศไทย ( Molecular ecology of malaria parasites (Plasmodium fulciparunm and P. vivax) populations and their vector specificity in Thailand) โดย รศ. ดร. พรพิมล รงค์นพรัฐ, ดร. มณฑิรา สวณะสุจริต, นายเฉลา สำราญดี และ นางสาวโสมฤทัย บุญสืบสกุล พศ. 2549 โครงการ BRT 24 หน้า

บทความ/วารสาร

000

ตำรา/หนังสือ/ผลงานทางวิชาการอื่นๆ

000

ทุนวิจัย

ลำดับที่

ชื่อโครงการ

แหล่งทุนวิจัย

ระยะเวลา

ความหลากหลายทางชีวภาพของเห็บ จุลชีพก่อโรค และซิมไบออนต์ในเห็บ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยเน้นที่สุรินทร์และจังหวัดใกล้เคียง

นักวิจัยร่วม ๔๐%

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

จำนวน ๔๔๐,๐๐๐ บาท

๒๕๕๗

ความหลากชนิดของปูและภาวะปรสิตของปู ในอาณาบริเวณเขาพนมดงรักแนวชายแดนไทย-กัมพูชา

นักวิจัยร่วม ๓๐%

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (HERP)

จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

 

๒๕๕๘

ความหลากหลายของการใช้ประโยชน์จากปูนาของชุมชนในพื้นที่แนวเทือกเขาพนมดงรัก ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย

นักวิจัยร่วม ๓๐%

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (HERP)

จำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท

 

๒๕๕๙

 

ความหลากชนิดของสาหร่ายน้ำจืด แพลงตอนสัตว์กลุ่มโรติเฟอร์และแคลดโดเซอราในแหล่งน้ำจืดของจังหวัดสุรินทร์

นักวิจัยร่วม ๒๐%

ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) (HERP) ๒๒๐,๐๐๐ บาท

๒๕๕๙

ความหลากชนิดของสาหร่ายน้ำจืด แพลงตอนสัตว์กลุ่มโรติเฟอร์และคลาโดเซอราในแหล่งน้ำจืดเขตอำเภอเมือง อำเภอปราสาท และอำเภอสำโรงทาบจังหวัดสุรินทร์

นักวิจัยร่วม ๓๐%

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จำนวน ๒๕๐,๐๐๐ บาท

บาท

๒๕๖๑

การใช้ประโยชน์มูลหนอนผีเสื้อเป็นปุ๋ยในการปลูกดาวเรืองและการวิเคราะห์ธาตุอาหารในมูลหนอนผีเสื้อ

หัวหน้าโครงการ ๗๐%

ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ ๘๐,๐๐๐ บาท

บาท

๒๕๖๑

การสำรวจและความชุกชุมของเห็บปลา (Argulus spp.) ในปลาบางชนิดและกุ้งฝอยจากอ่างเก็บน้ำห้วยลำพอก ตำบลกุดหวาย อำเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์

หัวหน้าโครงการ ๕๐%

ทุนอุดหนุนการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

จำนวน ๒๕,๐๐๐ บาท

๒๕๖๑

 
รางวัล/ผลงานวิจัยดีเด่น

000

ประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย

๑ พุทธศักราช ๒๕๓๙-๒๕๔๑ : ผู้ช่วยวิจัยโครงการ “ การศึกษาชีววิทยาเชิงประชากรของแมลงวันผลไม้และ ยุงก้นปล่อง” สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์  ใบไม้ เป็นหัวหน้าโครงการ

๒ พุทธศักราช ๒๕๔๒-๒๕๔๕: ผู้ช่วยวิจัยโครงการ “พันธุศาสตร์เชิงประชากร (๑) แมลงที่มีความสำคัญทาง เศรษฐกิจที่สัมพันธ์กับ Wolbachia และ (๒) สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก” สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ เป็นหัวหน้าโครงการ

๓ พุทธศักราช ๒๕๔๕-๒๕๕๐: นักวิจัยโครงการ (๑) Monitoring of inหมู่icide resistant and mapping of malaria vectors in Southeast Asia : a prerequisite for sustainable malaria vector control สนับสนุนเงินทุนวิจัยโดยสหภาพยุโรป (European Union) และ (๒) โครงการ Molecular ecology of malaria parasites (Plasmodium fulciparum and P. vivax) populations and their vector specificity in Thailand สนับสนุนเงินทุนวิจัยโดยโครงการ BRTและสำนักงานสนับสนุนกองทุนวิจัย (๓)โครงการ Modifying mosquito population age structure to eliminate dengue transmission สนับสนุนเงินทุนโดย Melinda and Bill Gates Foundation สถานที่ทำงานหน่วยวิจัยพาหะและโรคที่นำโดยพาหะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยมี ศ.ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้ เป็นหัวหน้าหน่วยฯ